ข้อมูลพื้นฐาน
ตราสัญลักษณ์
ประวัติความเป็นมา
ข้อมูลทั่วไป
โครงสร้างหน่วยงาน
อำนาจและหน้าที่ของเทศบาล
คณะผู้บริหาร
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภาเทศบาล
ปลัดเทศบาล
หน่วยงาน
สำนักปลัดเทศบาล
กองคลัง
กองช่าง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กองการศึกษา
สถานธนานุบาล
ศูนย์บริการสารสนเทศ
นโยบายและแผน
นโยบายและแผน
เทศบัญญัติฯ
การทบทวนเทศบัญญัติฯ
เเผนพัฒนาเทศบาล
เเผนการดำเนินงาน
รายงานติดตามและประเมินผลฯ
การประเมินผลการควบคุมภายใน
แผนอัตรากำลัง ๓ ปี
(พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗)
(พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐)
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๖)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาฯ
(พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๓)
การป้องกันการทุจริต
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานกำกับการติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
มาตรการการเผยแพร่ข้อมูลสาธารณะ
มาตรการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้่าง
มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
มาตรการป้องกันการรับสินบน
มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ฯ
มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจ
นโยบายไม่รับของขวัญ
รายงาน
การประเมินมาตรฐานขั้นต่ำการบริการสาธารณะ
รายงานการเงินและบัญชี
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
สรุปผล/รายงานการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดเก็บและจัดหารายได้
งานทะเบียนพาณิชย์
การประชุมสภาเทศบาลฯ
วาระยามเช้า
วารสาร/รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
ผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต
ผลการประเมินประสิทธิภาพของ อปท.(LPA)
การประชุมคณะผู้บริหารท้องถิ่น
ผลสำรวจความพึงพอใจของประชาชน
ผลการตรวจสอบจาก สตง./ปปช/ปปท/สถ.
สถิติจำนวนผู้มารับบริการด้านต่างๆ
สถิติรายได้ของเทศบาล
สถิติจำนวนผู้มารับบริการ การจัดเก็บภาษี
สถิติจำนวนผู้มารับบริการ การทะเบียนพาณิชย์
สถิติการขอรับบริการงานทะเบียนราษฎร
สถิติประชากรจากทะเบียนบ้านฯ เทศบาลตำบลยางเนิ้ง
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริต/ร้องทุกข์/ใบบอก
สถิติการขอรับบริการอนุญาตงานก่อสร้าง
สถิติการขอรับบริการงานสาธารณสุขฯ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งพนักงานเทศบาล
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งระบบแท่ง
แบบฟอร์มต่างๆบริหารงานบุคคล
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ระเบียบ พรบ. กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
ศุนย์ข้อมูลข่าวสาร
ประกาศเทศบาลฯ
คำสั่งเทศบาลฯ
ศูนย์ประสานงานการเลือกตั้ง
คลังข้อมูล
มุม KM
ศูนย์ดำรงธรรม
แผนภูมิขั้นตอนการรับแจ้งเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์
ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
เบี้ยยังชีพ
ร้องเรียนงานบุคคล
 
หน้าแรก ข่าวสารกิจกรรม กระดานข่าว/ร้องทุกข์ สถานที่ท่องเที่ยว สินค้าท้องถิ่น ติดต่อเรา

รหัส  D003
ชื่อสินค้า  วัดพระนอนป่าเก็ดถี่
รายละเอียด  ปีพ.ศ. ที่สร้าง/ อายุ: สร้างขึ้นราวปีพ.ศ. ๒๐๙๘ อายุ ๔๕๖ ปี (๒๕๕๔)
ที่ตั้ง: บ้านป่าเก็ดถี่ เลขที่ ๑๙๘ หมู่ที่ ๔ ตำบลยางเนิ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๑๔๐ พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๓ งาน ๗๖ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๑๑๗๔๐
สถานะของวัด: สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๖
เจ้าอาวาสปัจจุบัน: พระครูโสภณธรรมานุวัตร (สงคราม อาจิณณธัมโม) เจ้าคณะอำเภอสารภี ผู้จัดการโรงเรียนสารภีปริยัติศึกษา
ศรัทธาวัด: ประมาณ ๓๑๙ ครัวเรือน ได้แก่หมู่ที่ ๒, ๓, ๔ ตำบลยางเนิ้ง หมู่ที่ ๗ ตำบลหนองผึ้ง และหมู่ที่ ๔ ตำบลหนองแฝก
ประวัติศาสตร์: ประวัติความเป็นมาของวัด
ตำนานกล่าวไว้ว่าเมื่อพระพุทธเสด็จโปรดสัตว์โลกนั้นพระองค์ได้โปรดยักษ์ซึ่งกำลังไล่จับลูกสาวนายแสนแซ่วปลอดภัย ดังนั้นผู้เป็นลูกสาวจึงพานายแสนแซ่วไปเฝ้าพระพุทธเจ้า พระองค์ประทานเส้นเกศาให้ ต่อมานายแสนแซ่วและลูกสาวก็ได้สร้างพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขึ้นโดยนำเอาพระเกศาของพระพุทะเจ้าประดิษฐานไว้ในเศียรของพระพุทธรูป ไม่นานนักบริเวณที่ประดิษฐานพระพุทธรูปก็กลายเป็นวัดขึ้นมา เรียกว่า “พระนอนแสนแซ่ว” และเนื่องจากแถวนั้นมีป่าต้นเก็ดขึ้นจำนวนมาก บางครั้งชาวบ้านจึงเรียกว่า “วัดพระนอนป่าเก็ดถี่” และเป็นพระนอนใหญ่แห่งเดียวซึ่งอยู่ในท่าปรินิพพาน จนครั้งหนึ่งพระราชชายาเจ้าดารารัศมีเสด็จมานมัสการ ด้วยเห็นพระพักตร์ที่อิ่มงดงามจึงประทานชื่อว่า “พระนอนแสนสุข”


ปาฏิหาริย์ของพระนอนแสนสุขที่เกิดขึ้นคือ ที่ปรากฏในพงศาวดารแห่งนครเชียงใหม่ว่า เมื่อปี พ.ศ.๒๐๙๘ ครั้งนั้นเกิดศึกพม่าประชิดได้เกิดเหตุการณ์ประหลาดสามอย่างในวันเดียวคือ ยอดเจดีย์หลวงกลางเมืองพังทลาย มีแร้งจับที่ยอดพระธาตุดอยสุเทพ และนำพระเนตรพระนอนแสนสุขตกเป็นเลือด และจากนั้นอีกสามวันเมืองเชียงใหม่ก็ถูกพม่ายึดไป จากนั้นวัดพระนอนแสนสุขก็กลายวัดร้าง จนเมื่อประมาณ ๑๕๐ ปีที่ผ่านมานี้ มีผู้เฒ่าชาวเมืองพิงค์ชื่อว่า หมอคำ หรือ หมอประคำ ผ่านมาพบเห็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่องค์หนึ่งซึ่งขณะนั้นมีต้นไม้เป็นป่าห้อมล้อม ได้เห็นพระพักตร์ที่งกงามจึงเกิดความเลื่อมใส ศรัทธา และได้ชักชวนชาวบ้านให้มาช่วยกันบูรณะพระพุทธรูปและวัดขึ้นใหม่
   
 
     

 


Copyright 2005-2025 โดย เทศบาลตำบลยางเนิ้ง - www.theyang.go.th
สำนักงานเทศบาลตำบลยางเนิ้ง ถนนเชียงใหม่-ลำพูน จ.เชียงใหม่ 50140
เว็บไซต์ออกแบบและพัฒนาโดย www.click2solutions.com